โปรแกรมสต็อก Impress Inventory Control
:: โปรแกรมสินค้าคงคลัง ::
โปรแกรมสต็อก เป็น โปรแกรมเช็คสินค้า หรือ โปรแกรมตรวจนับสต๊อก ที่ช่วยในการบริหารสินค้าคงคลังและควบคุมปริมาณวัตถุดิบ ให้มีปริมาณพอเหมาะ ต่อการใช้งาน ควบคุมปริมาณสินค้าสำเร็จรูปให้เพียงพอกับการจัดจำหน่าย ทำให้สามารถแก้ไขปัญหา พื้นที่ในโกดัง เงินทุนหมุนเวียน ความเสื่อมสภาพของวัตถุดิบและสินค้าคงคลัง ช่วยในการตัดสินใจต่อการสั่งซื้อวัตถุดิบ ฯลฯ ถ้าสามารถควบคุมปริมาณวัตถุดิบให้ได้ตามจุดประสงค์ดังกล่าวข้างต้น จะทำให้เกิดค่าใช้จ่ายในส่วนต้นทุน วัตถุดิบที่ต่ำสุด ซึ่งจะนำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารองค์กร และทำให้ผลการดำเนินงานของบริษัท เกิดผลกำไรเพิ่มขึ้นตามมา
รายละเอียดและคุณสมบัติโปรแกรมสต็อก
- สามารถ ออนไลน์ (online) ผ่าน อินเตอร์เน็ต (internet) ระหว่างสำนักงานและคลังสินค้าที่อยู่ต่างพื้นที่ได้
- สามารถ ใช้ เครื่องยิงบาร์โค้ด หรือ เครื่องอ่านบาร์โค้ด (barcode scanner) เพื่อรับข้อมูลที่เป็น รหัสบาร์โค๊ดเข้าสู่ระบบได้
- สามารถเลือกวิธีการคำนวณต้นทุนได้หลายแบบ
- Moving Average
- Weighted Average
- FIFO
- LIFO
- Identify Lot
- สามารถเลือกวิธีการ Update Stock แบบ On Line หรือ Batch
- รหัสสินค้า/วัตถุดิบสามารถแจกแจงได้ 3 ระดับคือ Product Group, Product Sub-Group และ Product No.
- รองรับสินค้าที่มี Serial No.
- รองรับสินค้าที่ต้องการควบคุม ล็อตผลิต (Lot Control)
- รองรับสินค้าที่มี สไตล์/ สี / Size /เช่นสินค้าเสื้อผ้า รองเท้า กระเป๋า เป็นต้น
- รองรับสินค้าประเภทอาหารและยา ระบุวัน/เดือน/ปี ที่ผลิต,หมดอายุได้
- กำหนดรหัสสินค้าได้ยาวถึง 20 ตัวอักษร
- กำหนดรูปแบบการแสดงรหัสสินค้าได้เอง
- ความสามารถบันทึกข้อมูลสินค้าและวัตถุดิบได้ทั้งการรับ,เบิก,โอน,ปรับปรุงต้นทุน
- สามารถพิมพ์เอกสาร รับ, เบิก, โอน, ปรับปรุงต้นทุนได้
- การมีรหัสการเคลื่อนไหว (Movement Code) สามารถ แยกการรับ,เบิก ได้ถึง 10 ประเภทรับ และ 10 ประเภทเบิก
- การมีรหัสหน่วยงาน (Cost Center Code) สามารถสรุปค่าใช้จ่ายของแต่ละหน่วยงานได้
- การมีรหัสงาน (Job Code) สามารถสรุปต้นทุนของแต่ละงานได้
- สินค้าหรือวัตถุดิบ 1 ตัว สามารถเก็บได้มากกว่า 1 คลังสินค้า (Multiple Warehouse & Location)
- สินค้าหรือวัตถุดิบ 1 ตัวมีหน่วยนับได้ 3 ระดับ เช่น ลัง กล่อง ชิ้น และสามารถ Convert ได้ทุกหน่วย
- รองรับหน่วยนับขนาน (ธุรกิจเหล็กเส้น, ผ้า, อัญมณี ฯลฯ)
- สั่งผลิตตามสูตร (อัตโนมัติเกิด งานระหว่างทำ ตามสูตร)
- รับสำเร็จรูปจากการผลิต (อัตโนมัติ ตัดงานระหว่างทำ ตามสูตร)
- สั่งประกอบสินค้าตามสูตร (BOM)
- รองรับการตรวจนับสินค้า (Physical Count)
- มีรายงานครบถ้วนทั้งส่งสรรพากร และวิเคราะห์เพื่อการบริหารงาน
รายงานโปรแกรมสินค้าคงคลัง
- รายงานบัญชีสินค้าคงเหลือ
- รายงานบัญชีคุมสินค้า
- รายงานสรุปการเคลื่อนไหวของสินค้าตาม Movement Code
- รายงานค่าใช้จ่ายตามหน่วยงาน
- รายงานการเบิกวัตถุดิบใช้ในงาน Job Code
- รายงานแสดงอายุของสินค้า
- รายงานแสดงสินค้าที่ต้องสั่งซื้อ
- รายงานสำหรับตรวจนับสินค้า พร้อม Tag ติดสินค้าในการตรวจนับ
- รายงานแสดงการรับ/เบิกประจำปี เปรียบเทียบทั้ง 12 เดือน
โปรแกรม เงินสด & ธนาคาร Impress Cash & Bank
:: โปรแกรมระบบเงินสดและธนาคาร
ระบบเงินสดและธนาคาร หรือ โปรแกรมการเงิน เป็นระบบบริหารจัดการด้านเงินสดและธนาคาร ควบคุมการรับจ่ายเงินสด การจ่ายและรับเช็ค ตรวจสอบสถานะของบัญชีธนาคาร การตั้งเบิกเงินสดย่อย เป็นระบบที่ช่วยให้ฝ่ายบัญชีและฝ่ายการเงินทำงานประสานงานกันได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ลดข้อผิดพลาดและเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
เงินสดหรือเช็คจ่าย
- บันทึกการชำระหนี้อื่น ๆ ที่ไม่ใช้หนี้การค้าและพิมพ์ใบสำคัญจ่าย (Payment Voucher)
- บันทึกเงินมัดจำจ่าย (บันทึกการ์ดเจ้าหนี้)มีระบบควบคุมเงินสดย่อย และพิมพ์ใบสำคัญจ่าย (Payment Voucher)
- มีระบบควบคุมลูกหนี้เงินทดรองจ่ายบันทึกการโอนเงินระหว่างธนาคาร และพิมพ์ใบสำคัญจ่าย (Payment Voucher)
- กรณีชำระด้วยเช็ค สามารถที่จะพิมพ์เช็คได้ และบันทึกการจ่ายเช็ค พร้อมรายงานเช็คครบถ้วน
- Aging Cheque
- บันทึกการนำเช็คตัดบัญชีธนาคาร
เงินสดหรือเช็ครับ
- บันทึกการรับชำระอื่นๆ ที่ไม่ใช่หนี้การค้า และพิมพ์ใบสำคัญรับ (Receipt Voucher)
- บันทึกเงินมัดจำรับ (บันทึกการ์ดลูกหนี้)
- มีรายงานเช็ครับล่วงหน้าถึงกำหนดชำระ
- Aging Cheque
โปรแกรมคลังสินค้า Warehouse Management
:: โปรแกรมระบบบริหารคลังสินค้า ::
คลังสินค้า หรือ Warehouse ส่วนใหญ่แล้วจะหมายถึงสถานที่จัดเก็บสินค้าสำเร็จรูป หรือ วัตถุดิบ โดยสินค้าที่จัดเก็บอยู่ในคลังสินค้า จะต้องระบุตำแหน่งในการจัดเก็บ (Location) ให้เป็นระบบ เพื่อให้ง่ายต่อการค้นหา โอนย้าย และ จัดส่ง โปรแกรมระบบบริหารคลังสินค้า จะช่วยในการบริหารจัดการพื้นที่การจัดเก็บ การจัดส่งสินค้าให้เป็นระบบ และยังสามารถทำหน้าที่เป็นจุดเปิดบิลขายเพื่อแนบไปพร้อมกับสินค้าที่จะจัดส่งด้วย
- ตรวจสอบสินค้าและบันทึกปริมาณที่รับจริง
- ระบุ Location ที่นำสินค้าไปเก็บจริง
- สร้างใบแบ่งสินค้าตามลูกค้า
- สร้างเอกสาร Picking
- สร้างเอกสาร Packing
- สร้าง Invoice จาก Packing
- ปรับปรุงสต๊อกตาม Location
- ตรวจนับตาม Location
โปรแกรมต้นทุน Impress Activity Based Costing
คุณสมบัติและรายละเอียดโปรแกรมต้นทุนตามกิจกรรม
- คำนวณต้นทุนต่อหน่วยที่ใช้ในการผลิตสินค้าและเป็นเครื่องมือสำหรับฝ่ายจัดการ
- รองรับการผลิตสินค้าทั้งกรณีที่มีความจำเป็นต้องมีสูตรสำหรับผลิตสินค้าสำเร็จรูปหรือสินค้าระหว่างผลิตละกรณีที่ไม่สูตรการผลิต
- รองรับธุรกิจทั้งผลิตสินค้าและธุรกิจที่ให้บริการ
- บทบาทของต้นทุนตามกิจกรรมทำให้หน่วยงานบัญชีและหน่วยงานอื่นทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิด
- ขจัดความยุ่งยากและข้อขัดแย้งในการคำนวณต้นทุนต้นทุนที่ได้สะท้อนภาพการจัดการ
- ปรับปรุงงานขององค์กรให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
- กระบวนการจัดทำต้นทุนการผลิตตามกิจกรรมกำหนดศูนย์การผลิต
- กำหนดผลงานของแต่ละศูนย์การผลิต
- กำหนดกิจกรรมของแต่ละผลงาน
- กำหนดทรัพยากรที่ต้องใช้ในแต่ละกิจกรรม
- กำหนดศูนย์สนับสนุนการผลิต
- กำหนดผลงานของแต่ละศูนย์สนับสนุนการผลิต
- กำหนดกิจกรรมของแต่ละประเภทบริการ
- กำหนดทรัพยากรที่ต้องใช้ในแต่ละกิจกรรม
- กำหนดนโยบายบัญชีต้นทุน
- กำหนดประเภทผลผลิต
- กำหนดรูปแบบรายงานและเอกสารแบบฟอร์มรายงานเพื่อการตรวจสอบ
- รายงานเพื่อการใช้งาน
- :: โปรแกรมระบบต้นทุนฐานกิจกรรม ::
- 1.สามารถทราบถึงต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงในภาพรวมของผลผลิตแต่ละชนิดที่ผลิต(Product) หรือบริการแต่ละประเภทที่ขายสำหรับลูกค้าแต่ละราย หรือการ ปฏิบัติงานแต่ละประเภท เช่นการจัดซื้อวัตถุดิบในแต่ละ Lot การขายสินค้าให้กับ ลูกค้าแต่ละรายหรือแต่ละเขตการขาย การจัดหาบุคคลากรแต่ละรุ่น หรือต้นทุนโครงการก่อสร้างแต่ละ Project 2. สามารถทราบได้ว่าต้นทุนของผลผลิต หรือบริการ ตามข้อ 1. เกิดขึ้นในขั้นตอนการผลิตใด และมีต้นทุนขั้นตอนละเท่าใดของกระบวนการผลิต หรือการ ปฏิบัติงาน เพื่อให้ได้มาซึ่งผลผลิตหรือ ความสำเร็จของงาน ตามข้อ 1. 3. สามารถทราบได้ว่าต้นทุนของแต่ละกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติในแต่ละขั้นตอนตามข้อ 2. มีต้นทุนกิจกรรมละเท่าไร
- สินค้าสำเร็จรูป
- งานระหว่างทำ
- ผลพลอยได้
- สินค้าเกรดของเสีย
4. สามารถทราบได้ว่า ต้นทุนของแต่ละกิจกรรมตามข้อ 3. ประกอบด้วย ปัจจัยการผลิตอะไรบ้าง และมีต้นทุนชนิดละเท่าไร นอกจากนี้ยังทราบถึงองค์ประ กอบของค่าใช้จ่ายที่ต้องเสียไปทั้งทางตรง และ ทางอ้อม จากการปฏิบัติงานดัง กล่าวอย่างมีนัยสำคัญ
5. จากข้อมูลที่ได้ในข้อที่ 4. จะทำให้ท่านสามารถพิจารณาความเหมาะสม และความจำเป็นของแต่ละกิจกรรมที่ต้องกระทำในข้อ 4. ว่าจะคงอยู่ หรือตัดออก หรือ ลดขนาดของปฏิบัติงาน หรือเพิ่มงานที่มองข้ามไปเพื่อเพิ่มผลผลิต หรือเพิ่ม คุณภาพของผลผลิต แล้วแต่กรณี ทั้งนี้เพราะว่า ปริมาณผลผลิตก็ดี คุณภาพผล ผลิตก็ดี ปริมาณผลพลอยได้ก็ดี ปริมาณความสูญเสียก็ดี ตลอดจนต้นทุนของผล ผลิตจะเปลี่ยนแปลงน้อยมาก หากไม่เปลี่ยนแปลงกิจกรรมที่ทำ
6. ท่านสามารถปรับปรุงกิจกรรมในกระบวนการผลิต การปฏิบัติงาน ให้มี ประสิทธิภาพที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปอย่างเหมาะสม
: